*หัดอ่านบ้าง สมาชิกที่มาโปรโมทเว็บ หรือ บริการ กรุณาตั้งกระทู้ให้ถูกหมวดด้วย ไม่ต้องเนียน เว็บบอร์ดมีคนดูแล ห้าม เว็บการพนัน ลบอย่างเดียว



แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Topics - CoolhostPlus

หน้า: 1 ... 4 5 [6] 7
76
คือเขาใช้ CloudFlare แล้วตัวแปร $_SERVER["REMOTE_ADDR"] ดันไม่ใช้ IP ของ Client แต่เป็น IP เป็นของ CloudFlare ซะงั้น เลยทำให้ระบบตัดบัตรทำงานผิดพลาด ส่วนวิธีแก้ ก็ http://stackoverflow.com/questions/....via-in-php


เอาโค้ด
if (isset($_SERVER["HTTP_CF_CONNECTING_IP"])) $_SERVER['REMOTE_ADDR'] = $_SERVER["HTTP_CF_CONNECTING_IP"];

หรือ

if ($_SERVER["HTTP_CF_CONNECTING_IP"]) {
$_SERVER["REMOTE_ADDR"] = $_SERVER["HTTP_CF_CONNECTING_IP"];
}


ใส่ไว้บน
if($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR'] == '203.146.127.115' && isset($_GET['request']))



ที่มา : thaiseoboard

77
ใช้ Cloudflare ดีอย่างไรมาดูกัน ...........


Content Delivery Network เพื่อทำให้เว็บของคุณเปิดในหลายๆประเทศได้เร็ว เพราะมันจะ Caching เนื้อหาไปเปิดให้
เป็นตัวลดภาระ Bandwidth เพราะมันทำ Caching ให้ในบางส่วน ทำให้ไม่เป็นภาระกับ Server
เป็นระบบป้องกันพวก bot หรือ crawler แปลกๆจากเว็บพวก Hacker
แถมมี Stat ให้ดูคล้ายๆกับ Google Analytic ให้ดูด้วย
ที่สำคัญมันฟรีให้ใช้ครับ และ ยังไม่แพ็กเกจ เพิ่มระบบต่าง ๆ ( แต่แพงเอาการ )




CDN : Content Delivery Network (ระบบเครือข่ายการจายเนื้อหา)
ระบบ CloudFlare นั้นจะใช้ CDN อยู่ทั่วโลก ตาม Map ที่เห็นในรูปนะครับ ซึ่งเราสามารถไปดู Status ได้ซึ่งการที่ได้ใช้ CDN นั้นจะช่วยทำให้การเข้าถึงเว็บนั้นเร็วขึ้น และช่วยประหยัด BW : Bandwidth ของเว็บไซต์ไปด้วยในการโหลดซ้ำ อีกทั้งเวลาที่เว็บไซต์ (จริง) ล่มถ้าเราใช้บริการ CloudFlare นั้นเราชี้ Name Server ไปที่ NS ของ CloudFlare ซึ่งเขาจะเซฟ Cache เว็บหน้าล่าสุดไว้ ทำให้เว็บจริงล่ม แต่เว็บไม่เป็นหน้าขาว เนื่องจากระบบของ CloudFlare ซึ่งผมชอบตรงนี้ครับ เพราะเว็บ Comseeit เคยล่มครั้งหนึ่ง (ที่เคยเจอกับตัวนะ) ตอนนั้นมันฟ้องว่า error 501 internal server error แต่หน้าเว็บไม่ขาว CloudFlare ช่วยไว้ได้ แต่จะขึ้นเตือนไว้ว่า “หน้าที่คุณเห็นอยู่นี้ เป็นหน้า แคชของคลาว์นแฟลร์นะ “ ตรงข้างบนสุดของเว็บไซต์

    ไม่ต้องตั้งค่าให้ยุ่งยาก เพียงแค่ชี้ Name Server มาที่ CloudFlare เท่านั้นจบ !
    สามารถทำงานร่วมกับเว็บที่มีเนื้อหาคงที่พวก HTML ได้ และเว็บที่มีเนื้อหาไม่คงที่ได้พวก PHP และอื่นๆ
    มั่นใจได้เลยว่าเว็บจะออนไลน์ทำงานอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากจะมีระบบ Cache เก็บเว็บไซต์เสมอๆ
    ช่วย ติดตาม ป้องกัน ต่อต้านผู้ไม่หวังดี ที่กำลังเข้าถึงเว็บของคุณ (ในระดับหนึ่ง)
    สามารถใช้ IPV6 ได้อัตโนมัติโดย (ผมยังไม่ทราบแน่ชัดกับเรื่องนี้นะครับ ^^)
    การันตีที่ระดับ 99.999% สุดยอดเพราะระบบ Cache นั้นเองที่ช่วยให้เว็บออนไลน์ตลอดเวลา
    สามารถทำงานร่วมกับ CDN อื่นๆได้โดยปกติ

ฮ่า .. หลังจากที่ดูวีดีโอว่า Cloudflare มันโม้ยังไง ซึ่งบางทีคนที่เข้าเว็บอาจจะเห็น บางหน้าของเว็บผม ขึ้นเป็น ภาพประมาณเหมือน Website Offline ไปบ้าง นั่นแหละ คือ บางทีที่มัน Cache บางหน้าไว้ไม่ทัน มันดันหาว่าเว็บเรา down เฉย ทั้งๆที่เว็บเราก็ทำงานปกติอยู่ แล้วโดยรวมแล้ว นอกจากอาการบ๊องๆ ในส่วนอื่นๆถือว่าน่าพอใจมาก


หน้าจอเข้าเว็บไม่ได้ที่ช่วงนี้ 3-4 คนเจอกัน
ทีนี้มาดูกันบ้างว่าหลังจากที่ผมใช้ Cloudflare มันมีอะไรโชว์ให้ดูกันบ้าง



อันนี้เป็นหน้า Stat หลังจากที่เก็บมาประมาณ 1 อาทิตย์ครับ ซึ่งก็จะมี Log สรุปให้เราประมาณนี้ ซึ่งหัวข้อที่น่าสนใจอยู่ตรงพื้นที่กราฟ สีแดง ครับ นั่นคือ ปริมาณของการโดนโจมตีจากพวก Hacker , Bot และ Worm ต่างๆ แค่ 1 อาทิตย์ ผมโดนไปประมาณ 9,000 ครั้งเลยหรอเนี่ย


แถม Threat ที่มาทั้งหมด 99% ดันมาจากประเทศไทย โอวโนววว

ซึ่งในบรรดา Threat หรือการโจมตีทั้งหลายเนี่ย เราก็สามารถ Block ผ่านทาง Cloudflare ได้ด้วยครับ


แถมยังช่วยประหยัด Bandwidth ตั้งขนาดนี้แน่ะ


โดยรวมแล้วถึงแม้จะเป็นตัวฟรี แต่ประสิทธิภาพก็น่าพอใจมากๆ ตัวเสียเงินจะมีข้อดีคือ Log จะ Update ทุกๆ 15 นาที แถมดู Log ย้อนหลังได้เยอะกว่าด้วย ของตัวฟรีดูย้อนหลังได้แค่ 30 วันเองครับ ถ้าใครอยากจะลองใช้งาน ก็ต้องมีความรู้ด้าน DNS Server นิดหน่อย เพราะต้องแก้ไขค่า Name Server บนตัวชื่อเว็บของเราไปใช้บนระบบของ Cloudflare แทน แต่ข้อดีก็คือ เราแทบไม่ต้องใช้ทั้ง Hardware / Software หรือ การแก้ไข Code ของเว็บอะไรทั้งสิ้นเลยครับ ผมทดลอง setup ดูประมาณ 15 นาทีก็ใช้ได้แล้ว แต่ต้องรอตั้ง 24 ชม กว่า Log ไฟล์แรกจะขึ้น ก็เลยทำให้ต้องทดสอบกันนานหน่อยครับ
ใครที่ทำ Web ของตัวเองบนระบบ Hosting ส่วนตัว น่าจะชอบกัน ไปลองกันได้เลยครับ


รายละเอียดบริการ
ชื่อ : Cloudflare
โดย : Cloudflare.com


78

P3 (Plugin Performance Profiler)
ลงโปรแกรมนี้เพื่อเช็คครับว่า plugin ไหนทำให้เว็บทำงานหนัก แล้วลองหา plugin มาเปลี่ยนหรือเลิกใช้ครับ

WP Super Cache
Cache ที่หลายๆคนใช้ ขอดีของมันคือทำ page prelode ได้ครับ
เบาเครืองขึ้นเยอะ

WP Widget Cache
ถึงจะ cache เว็บแล้ว แต่ปรกติ widget จะทำงานปรกติ ให้ใส่เพิ่อ cache widget ไว้ด้วยครับ
พวกหัวข้อใหม่ tag ที่โชว์ข้างๆเว็บ ใส่ไว้จะเป็นผลดี ทำให้เว็บทำงานเบาลงอีกนิด

WP-HTML-Compression
ลดช่องว่างและการเว้นบรรทัดของ wp ที่มีเยอะเกินกว่าเหตุครับ
เชื่อไหมว่า ช่องว่าง และการลงบรรทัดใหม่เยอะๆ ก็ทำให้เว็บหนักขึ้นเหมือนกัน ใช้ตัวนี้ตัดออกครับ
ปล. มีผลทำให้ธีมบางตัวทำงานผิดพลาด ลองดูดีๆก่อนนะครับ (กำลังแก้ไขอยู่ถ้าแก้ได้จะเอามาแจก)

WordPress Gzip Compression

เปิดใช้งาน ฟั้งชั่น ob_gzhandler()ของ php ต้องเช็คก่อนนะครับว่า hosting ที่ใช้เปิดให้ใช้หรือเปล่า
ถ้าเปิดก็เปิดใช้ได้เลย เว็บเร็วขึ้นบานเลยครับ

jQuery lazy load plugin
เป็นปลั๊กอินสำหรับเว็บที่รูปเยอะๆครับ ถ้ายังไม่ได้เลื่อนหน้าเพจลงมารูปจะยังไม่โหลด ทำให้โหลดหน้าแรกเร็วขึ้นอีกเยอะ

Lazy Widget Loader
คล้ายๆกับ jQuery lazy load plugin แต่ใช้งานกับ widget คือถ้าไม่เลื่อนหน้าลงมา widget ที่ตั้งไว้ก็ไม่ทำงานครับ

WP Smush.it
ทำให้รูปที่ใช้งานบนเว็บ เล็กลงอีกเล็กน้อย 5 - 30% ของขนาดรูป ทำให้รูปเล็กลง โหลดเร็วขึ้น และ Server เบาขึ้นครับ
รูปถ้ามีการโหลดเยอะๆ Server ก็ทำงานเยอะขึ้นนะครับ

แนะนำจาก Id : BOMEN - thaiseoboard.com

79
โปรแกรม FileZilla ตั้งแต่เวอร์ชั่น 3.10.0 เป็นต้นมา ได้มีการบังคับใช้การเชื่อมต่อ FTPS
Directadmin or FTP ถูก Block Port 2121/2222


วืธีใช้งาน
1.เปิดโปรแกรม FileZilla คลิกที่เมนู File/แฟ้ม
2.เลือก Site Manager / ตัวจัดการที่ตั้ง หรือใช้ คีย์ลัด Ctrl+S
3.คลิก New Site / ที่ตั้งใหม่
4.เลือก Protocol/โปรโตคอล เป็น FTP - File Transfer Protocol
5.เลือก Encryption/การเข้ารหัส  เป็น Only use plain FTP (insecure)
6.กรอก IP หรือ FTP.โดเมน ลงในช่อง Host
กรอก User(ผู้ใช้) และ Password ลงในช่อง User และ Password ที่ได้รับจากทางโฮส
7.ช่อง logon Type  เลือกเป็น Normal หรือ ปกติ (ภาษาไทย) เสร็จ
กด Connect หรือ OK เพื่อบันทึกไว้


( หรือ อีกวิธีโหลด FileZilla เวอร์ชั่นเก่า ตามลิ้งเลย โหลด FileZilla )




ตัวอย่างตามรูป




80
สำหรับคนทำเว็บแล้ว การเพิ่มความรวดเร็วสำหรับให้ผู้ที่งานสามารถเข้าเว็บได้เร็วขึ้น เป็นเรื่องที่เราต้องทำการคิดถึงเป็นอันดับแรกเลยในตอนนี้ และในอีกไม่นานการเข้าใช้งานเว็บด้วย Mobile ต่าง ๆ จะมีผลมากเป็นอันดับแรกสำหรับผผู้ที่ทำการ พัฒนาเว็บ โดยมีหลายวิธีสำหรับการ เร่งความเร็วสำหรับให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงเว็บจะเรียกว่าการทำ cache  สำหรับ WordPress แล้วมี Plugin หลายตัวที่นิยมใช้ เช่น wp-super-cache  แต่อย่างไรก็ดีการทำ cache ซึ่งจะเขียนลงบน Host ตัวเองแบบนี้ก็ยังไม่ค่อยตอบสนองความต้องการของ เว็บในยุคอะไรก็ Cloud

เรามาลองดูรูปแบบของการ Cache ในรูปแบบใหม่ที่เป็น Cloud และยังประหยัดเงินอีกด้วย นั้นก็คือบริการของ cloudflare

มาเริ่มต้นกันเลย ไปที่ Sign Up จะมีหน้าจอให้ทำการกรอกข้อมูล เมื่อลงทะเบียนในขั้นตอนนี้เรียบร้อยแล้วให้

คลิกที่ Create account now

ขั้นตอนต่อไปให้เราทำการ เพิ่ม URL เข้าไป โดยรูปแบบการ กรอกข้อมูลจะเป็นชื่อ Domain ไม่ต้องมี http://www
เช่น www.svmusichost.in จะเป็น svmusichost.in

โดยหน้าต่อไปจะเป็นคำอธิบายสำหรับ การ Set DNS

โดย Icon On CloudFlare จะเป็นการบอกว่าจะเข้าไปใช้งานส่วนของ Cloudflare

(ถ้าในกรณีที่ท่าน ต้องการแก้ CSS หรือ Code อะไรบ้างอย่างในเว็บแล้ว หน้าจอไม่เปลี่ยนให้มาที่ส่วนที่แล้วเลือก Off CloudFlare ไม่อย่างนั้นหาแก้แทบตาย CSS ก็ไม่เปลี่ยน ToT )

Icon Off CloudFlare จะเป็นการเข้าถึงส่วนของ Host เดิมที่เราใช้งานอยู่ โดยมากจะใช้สำหรับการ FTP , Mail

ตอนแรกให้ใช้ค่าที่ทาง CloudFlare ตั้งไว้ก่อนจะดีกว่า

หน้าจอต่อไปจะเป็นการกำหนดค่าใช่จ่าย โดยเราสามรถใช้แบบ Free ก็ได้

Plan มีให้เราเลือก 4 แบบ

1. CloudFlare Free (สำหรับคนที่ อยากแค่ทดลองใช้งานผมว่า แบบนี้ก็ดีครับ)

2. CloudFlare Pro โดย Domain แรกจะเสียต่อ 20$/mo แต่ Domain อื่นจะเสีย 5$/mo (แบบนี้ผมว่าถ้าเรามีจำนวนผู้เข้าใช้งานมาก ๆ อันนี้น่าสนใจที่สุด)

3. CloudFlare Business ขอบอกว่าไม่กล่าวถึงแล้วกัน มันแพงมาก ToT

4. CloudFlare Enterprise ขอบอกว่าไม่กล่าวถึงแล้วกัน มันแพงมาก ToT

เมื่อทำการเลือก Plan เสร็จแล้ว ก็ไปยังขั้นตอนต่อไปได้เลย โดยขั้นตอนนี้ จะเป็นการแจ้งให้เราทำการเปลี่ยน DNS โดยจะแสดงส่วนของ name servers เดิมที่เราเคยใช้อยู่ ให้เปลี่ยนไปใช้ส่วนของ name servers ใหม่

โดยในขั้นตอนการเปลี่ยนนี้ ก็อยู่ที่ว่าเราจด Domain ไว้กับอะไรครับ

จากนั้นก็จะเป็นขั้นตอนการ รอเวลาถ้าเราทำการเปลี่ยน DNS แล้ว
ICON ที่เป็นสีแดงจะเปลียนเป็นสีเขียว ด้วยมากจะใช้เวลาประมาณ 24 ชั่วโมง


จบขั้นตอนการเตรียม ส่วนของ CloudFlare แล้วต่อไป จะเป็นส่วนของ wordpress


81
ห้องแจก CMS & Free Script / Widget Popup-facebook-Likebox
« เมื่อ: ธันวาคม 24, 2014, 15:06:31 »


โค๊ด: [Select]
   <script src="https://ajax.googleapis.com/ajax/libs/jquery/1.7.1/jquery.min.js" type="text/javascript"></script>

<link rel="stylesheet" type="text/css" href="http://dl.dropboxusercontent.com/s/wt4ulsj3cvct3fi/lightbox-style-popup-facebook-likebox-widget-02.css" /><script src="http://dl.dropboxusercontent.com/s/7bcjeubaenpmbf9/facebook-colorbox-v1.3.19.js"></script>
<script type="text/javascript">
jQuery(document).ready(function(){
if (document.cookie.indexOf('visited=false') == -1) {
var fifteenDays = 1000*60*60*24*30;
var expires = new Date((new Date()).valueOf() + fifteenDays);
document.cookie = "visited=true;expires=" + expires.toUTCString();
$.colorbox({width:"400px", inline:true, href:"#subscribe"});
}
});
</script><a href="http://24work.blogspot.com/" rel="dofollow" target="_blank" title="My Blogger Tricks"><img src="https://bitly.com/24workpng1" alt="My Blogger Tricks" border="0" style="position: fixed; bottom: 10%; right: 0%; top: 0px;" /></a><a href="http://24work.blogspot.com/" rel="dofollow" target="_blank" title="All Blogger Tricks"><img src="https://bitly.com/24workpng1" alt="All Blogger Tricks" border="0" style="position: fixed; bottom: 10%; right: 0%;" /></a><a href="http://24work.blogspot.com/" rel="dofollow" target="_blank" title="Techtunes"><img src="https://bitly.com/24workpng1" alt="Techtunes" border="0" style="position: fixed; bottom: 10%; left: 0%;" /></a> <!-- This contains the hidden content for inline calls --> <div style='display:none'>
<div id='subscribe' style='padding:10px; background:#fff;'>
<h3 class="box-title">ยินดีต้อนรับเข้าสู่แฟนเพจ Facebook. กดไลค์กันเยอะๆนะครับ<center><p style="line-height:3px;" > </p></center></h3>
<center>
<iframe src="http://www.facebook.com/plugins/likebox.php?href=http%3A%2F%2Fwww.facebook.com%2Fpages%2FBlogspot-tutorial%2F483783661753008&amp;width=300&amp;colorscheme=light&amp;show_faces=true&amp;border_color=%23ffffff&amp;stream=false&amp;header=false&amp;height=258" scrolling="no" frameborder="0" style="border:none; overflow:hidden; width:300px; height:258px;" allowtransparency="true"></iframe></center>

</div>
</div>


82
GCMS CMS สัญชาติไทย ที่ขับเคลื่อนโดย Ajax



ระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ (Content Management System) ที่ทันสมัยด้วยเทคโนโลยี Ajax รองรับการแสดงผลบนมือถือ (Responsive) มีความสมบูรณ์แบบทางด้าน SEO (Search Engine Optimization) ใช้เทคโนโลยีเว็บไซต์ล่าสุด เช่น HTML5 และ CSS3 และยังรองรับการใช้งานหลากหลายภาษาด้วย UTF-8

GCMS ถูกออกแบบโดยเน้นการทำงานที่รวดเร็ว ซึ่งเป็นผลดีในแง่ของประสบการณ์ของผู้ใช้ และตัวระบบยังออกแบบให้รองรับการใช้งานสำหรับผู้พิการอีกด้วย โดย GCMS สามารถผ่านการตรวจสอบตามมาตรฐาน WAI-AAA ซึ่งเป็นมาตรฐานสูงสุดในการตรวจสอบการรองรับการใช้งานของผู้พิการ

ผมได้ออกแบบ GCMS เพื่อให้เป็นสคริปต์ที่สามารถต่อยอดหรือดัดแปลงได้ง่าย โดยหลักการคือใช้ GCMS เป็นระบบหลัก และ สร้างโมดูลหรือส่วนเสริมเพิ่มเติมอื่นๆ เพื่อต่อยอดเป็นเว็บไซต์ประเภทต่างๆ นอกจากนี้ ยังออกแบบโดยเน้นให้สามารถดัดแปลง แก้ไขได้ง่ายด้วย ไม่ว่าจะเป็นการแก้ไขโมดูล หรือ Template โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ผมสามารถใช้ GCMS เป็นต้นแบบในการพัฒนาต่อยอดเว็บไซต์ในรูปแบบที่หลากหลายมาโดยตลอด

ผมได้แยก GCMS ออกเป็น 2 แบบ โดยเน้นไปที่จุดประสงค์ในการนำไปใช้งาน โดยที่

ติดตามข้อมูลเพิ่มเติม หรือ ลองเข้าไปดาวน์โหลด สคริปได้ที่ gcms.in.th

83
ห้องแจก CMS & Free Script / แจกสคริปลงนามถวายพระพร
« เมื่อ: ธันวาคม 01, 2014, 14:25:22 »
แจกสคริปลงนามถวายพระพร




ลองนำไปใช้ดูครับ
แก้ไฟล์ 1 จุด แก้ไขไฟล์ config.php ให้ตรงกับค่าระบบ

== การติดตั้งแสนจะง่าย ==
1.แก้ไข config.php ให้ถูกต้อง
2.นำเข้าฐานข้อมูล db.sql
3.อัพไฟล์ทั้งหมดขึ้นโฮส ใช้ได้เลย

หน้าแอดมินเข้าไปที่
hปปp://yourdomain.com/admin.php
แก้ไข user กับ พาสในไฟล์ config.php

ดาวน์โหลด
http://adf.ly/1gwAx2  @ https://openload.co/f/FNaztXyxZ2c/54.zip

รหัสแตกไฟล์ : svmusichost.net



84
ชื่อโดเมน หรือ โดเมนเนม (domain name) คืออะไร


โดเมนเนม ความหมายโดยทั่วๆ ไป หมายถึง ชื่อเว็บไซต์ ชื่อบล็อก ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อให้จดจำและนำไปใช้งานได้ง่าย
ทั้งในการเข้าชมผ่านบราวเซอร์ของผู้ใช้ทั่วไป ยังรวมไปถึงผู้ดูแลระบบโดเมนเนมซีสเทม ที่สามารถแก้ไขไอพีแอดเดรสของชื่อโดเมนเนมนั้นๆ ได้ทันที
โดยที่ผู้ใช้ทั่วไปไม่จำเป็นต้องรับรู้หรือจดจำไอพีแอดเดรสที่มีการเปลี่ยนแปลง
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เผยแพร่เว็บไซต์ จะมีโดนเมนเนมเฉพาะไม่ซ้ำกับใคร

โดนเมนเนม มีด็อทอยู่หลายประเภทแต่ที่นิยมมากที่สุดนั้นก็คือ .com เพราะเป็นด็อทในยุคแรกๆ ที่เริ่มใช้กัน และง่ายต่อการจดจำ

ประเภทของ Domain Name แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
  1.  โดเมน 2 ระดับ   ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน
  2.  โดเมน 3 ระดับ   ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน . ประเทศ


โดนเมนเนม 2 ระดับ 
จะประกอบด้วย  www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน เช่น www.coolhostplus.net
ประเภทของโดเมน คือ คำย่อขององค์กร โดยประเภทขององค์กรที่พบบ่อย มีดังต่อไปนี้

    * .com คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์
    * .org คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร
    * .net คือ องค์กรที่เป็นเกตเวย์ หรือ จุดเชื่อมต่อเครือข่าย
    * .edu คือ สถาบันการศึกษา
    * .gov คือ องค์กรของรัฐบาล
    * .mil คือ องค์กรทางทหาร
   
โดนเมนเนม 3 ระดับ 
จะประกอบด้วย www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน . ประเทศ เช่น www.kmitnb.ac.th, www.nectec.or.th, www.google.co.th
 
ประเภทขององค์กรที่พบบ่อยคือ

    * .co คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์
    * .ac คือ สถาบันการศึกษา
    * .go คือ องค์กรของรัฐบาล
    * .net คือ องค์กรที่ให้บริการเครือข่าย
    * .or คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร

ตัวย่อของประเทศที่ตั้งขององค์กร

    * .th   คือ ประเทศไทย
    * .cn  คือ ประเทศจีน
    * .uk  คือ ประเทศอังกฤษ
    * .jp   คือ ประเทศญี่ปุ่น
    * .au  คือ ประเทศออสเตรเลีย
   

โดนเมนเนม ถือเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกที่มองข้ามไม่ได้เลยสำหรับเว็บไซต์นั้นๆ โดยเฉพาะกับการโฆษณาบนอินเตอร์เน็ท ถ้าได้ชื่อที่เฉพาะเจาะจง ตรงกับกลุ่มเป้าหมายที่มีความสนใจเป็นพื้นฐานเดิมอยู่แล้วนั้น จะทำให้โดเมนเนม หรือ เว็บไซต์นั้นๆ จะได้รับความสนใจและเป็นที่จดจำได้ง่ายไม่ใช่กับผู้เข้าชมหรือ
กลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาชมเว็บไซต์ผ่านโดมเนมเท่านั้นยังรวมไปถึง Search Engine ชื่อดังต่างๆ เช่น Google Yahoo MSN เป็นต้น ที่จะเข้ามาแวะเวียนเข้ามาทำ index กับเว็บเพจหน้าต่างๆ ในเว็บไซต์ของเรา

หลังจากจดโดนเมนเนมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว สิ่งสำคัญลำดับถัดมานั้นก็คือ โฮสติ้ง (Hosting) หรือ ที่เก็บข้อมูลเว็บไซต์ของเรานั้นเอง ซึ่งโฮสติ้งแต่ละที่จะมี DNS หรือ Name Server ที่ทางผู้ให้บริการโฮสติ้ง จะเป็นคนกำหนดและแจ้งให้เราทราบเพื่อเอาไปใส่ให้โดมเมเนมของเรา
เช่น DNS ของ B2C Creation จะมีชื่อว่า NS1.svmusichost.in และ NS2.svmusichost.in ซึ่งคุณไม่ต้องกังวลในเรื่องนี้
เพราะถ้าคุณจด Domain Nameและใช้บริการโฮสติ้งกับผู้ให้บริการคนเดียวกันจะไม่มีปัญหาอะไรเลยครับ หรือแม้ว่าจะเป็นคนละคนกัน เพียงแค่นำ DNS ที่ได้ ไประบุให้กับโดเมนเนมนั้นตามที่ได้อธิบายไปแล้ว

85

เปิดโฮสฟรี Inter/ต่างประเทศ 2016 ( ทางเราไม่มีโดเมนให้นะครับ ท่านต้องหามากันเอง )
เปิดรับจำนวนจำกัด เปิดรับเรื่อยๆ บอกต่อ แชร์ หรือ ชวนเพื่อนๆ มาใช้บริการได้





*** รายละเอียด


- Disk Space : 100 MB
- Bandwidth : 5 GB
- โดเมน : 1
- MySQL Database : 1
- PHP 5.3
Control  DirectAdmin

1คน ต่อ1 โฮสเท่านั้น พบ สั่งซื้อซ้ำ ๆ เราจะแบนทันที ขอคนที่ต้องการใช้งานจริงๆ สมารถอัพแพ็กได้

หมายเหตุ
ไม่รับเว็บฝากไฟล์ ,ไม่รับเว็บปั้มไลค์ ,ไม่รับสคริปที่ใช้งานสเปม และทำให้เซิฟเวอร์ทำงานหนัก
พบเจอในกรณี นี้ เราขอลบออกโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบ ผู้ใช้งานควร แบ็คอัพข้อมูลเอง และ โหลดไปเก็บไว้ที่คอม โฮสฟรี ไม่มีแบ็คอัพให้



วิธีเปิดใช้งานบริการ
ทำรายการกันเลยที่นี่  : https://www.facebook.com/CoolhostPlus/
ตอนทำรายการสำหรับคนที่มีโดเมน แล้ว ให้เลือก มีโดเมนเนมอยู่แล้ว   ใส่โดเมนของท่าน ลงไป

** หมายเหตุ ยืนยันการใช้งานใน 24 ชั่วโมง โฮส/โดเมน ไหนที่ไม่มีการเชื่อมต่อ ns ใน 24 ชั่วโมง
ทางเราขอทำการลบออก ทั้ง บัญชี **

ขอสงวนสิทธิ์ ลบเว็บออกได้โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบ แล้วแต่ทีมงานจะพิจารณา


หากยังไม่ได้รับข้อมูล กรุณาแจ้งรายละเอียดเข้ามาที่ https://www.facebook.com/CoolhostPlus/

 8) 8)


86
โปรแกรมทำเว็บ Macromedia Dreamweaver 8 [ Full ]


โหลดอันไหนก็ได้ Macromedia Dreamweaver 8

ลิ้งที่ 1 http://dl-4.one2up.com/onetwo/content/2013/6/24/2e88d10a7d9a8662be57ca4d348df08e.rar
ลิ้งที่ 2 http://dl-17.one2up.com/onetwo/content/2013/5/13/a23270d4528cd5e442e97dc4f883213b.rar
ลิ้งที่ 3 http://dl-17.one2up.com/onetwo/content/2013/8/4/4a2313ffda42998d85ae3b8c559745f4.rar
ลิ้งที่ 4 http://dl-12.one2up.com/onetwo/content/2013/1/7/572585644fb044798934c14427ac1be2.rar

ลิ้งสำรอง : https://openload.co/f/wgEGQZPKbJ0/DW.zip  pass : musichost

เลือกโหลดเอาเลย  :D


87
นำโค้ดไปใส่ตรงระหว่าง

<body>
</body>

หรือ ครงอื่น ๆ ที่ต้องการให้แสดง ...


โค๊ด: [Select]
<SCRIPT LANGUAGE="JavaScript">
// create a new Date object then get the current time
var start = new Date();
var startsec = start.getTime();

// run a loop counting up to 250,000
var num = 0;
for( var i = 0; i < 250000; i++ )

var stop  = new Date();
var stopsec = stop.getTime();

var loadtime = ( stopsec - startsec ) / 1000;

            </script>
              <SCRIPT>
 document.write("หน้านี้ใช้เวลาโหลด " +loadtime+ " วินาที");
            </SCRIPT>

88
ห้องแจก CMS & Free Script / โค้ด POPUP-facebook-likebox
« เมื่อ: กันยายน 28, 2014, 16:57:02 »
โค้ด POPUP-facebook-likebox


นำโค้ดไปวางในตำแน่ง <head> </head> ของเว็บได้เลย


โค๊ด: [Select]
<link type="text/css" rel="stylesheet" href="http://pongpat.janthai.com/fb-traffic-pop.css">
<script type="text/javascript" src="http://pongpat.janthai.com/jquery.js"></script>
<script type="text/javascript" src="http://connect.facebook.net/en_US/all.js#xfbml=1"></script>
<script type="text/javascript" src="http://pongpat.janthai.com/fb-traffic-pop.js"></script>
<script language="javascript">
jQuery(document).ready(function() {
jQuery().facebookTrafficPop({
'timeout':'30',
'title':'มาเป็นแฟนเค้าเหอะ !',
'message':'กรุณาคลิกปุ่ม Like ก่อนเข้าเว็บ ขอบคุณค่ะ',
'url':'http://www.facebook.com/SvMusicHosting',
'lang':'en',
'wait':'2',
'opacity':'0.60',
'advancedClose':false,
'closeable':false,
'showfaces':true });
});
</script>


โค๊ด: [Select]
<div id="fbtpdiv"></div>
แล้วก็ใส่ แบบนี้ หลัง body
ปรับเวลาตรง timeout

อย่าลืมเปลี่ยนลิ้งเป็นของแฟนเพจขอท่านด้วยนะคับ


89
Dump DB ได้ง่ายๆ ด้วย BigDump
BigDump Tool ตัวนี้ สำหรับคนที่ต้องการย้าย หรือ อัพ Database ขนาดใหญ่ๆ ขึ้นไปยัง Server น่ะครับ(DB เล็กๆก็ใช้ได้นะ) แต่ Tool มาตรฐานอย่าง PhpMyAdmin ช่วยไม่ได้ เพราะมันใหญ่เกิน(หรือใช้ไม่เป็น) Tool ตัวนี้เป็นของนาย Alexey Ozerov เขียนด้วย PHP แล้วก็เป็น GNU License ครับ

เริ่มกันเลยครับผม

1.Download Script มาก่อนครับ http://www.ozerov.de/bigdump.php
2.แตกไฟล์ zip ออกมาจะได้ไฟล์ bigdump.php นะครับ
3.จัดการ config ด้วย text editer ที่ถนัดตามนี้ครับ
โค๊ด:

// Database configuration
$db_server   = ‘localhost’; <-- ตั้งค่า DB ตาม Server ของคุณนะครับ
$db_name     = ‘’;
$db_username = ‘’;
$db_password = ‘’;

// Other Settings

$filename        = ‘’;     <-- ชื่อ file sql ที่ต้องการจะ dump ครับ

4.เสร็จแล้วก็ upload ขึ้น server ไปพร้อมกับไฟล์ SQL ได้เลยครับ แล้วก็เรียก http://www.yourdomain.com/bigdump.php
กด Start Import เท่านี้ก็เรียบร้อยครับ


90
ก่อนจะจดโดเมนเนมนั้น คิดให้ดีเสียก่อน เพราะคุณอาจได้โดเมนเนมขยะที่ไม่
สามารถทำอะไรได้เลยมาครอบครองแม้ว่าจะชื่อสวย จำง่ายเพียงใดก็ตาม


โดเมนเนมขยะที่ว่านี้ก็คือ “โดเมนเนมโดนแบน” นั่นเองค่ะ แบนจากอะไร? แบนจาก Google
คือโดเมนนั้นจะไม่ปรากฏบน Google อีกต่อไป แม้ว่าจะเอามาทำเว็บไซต์สวยงามแค่ไหน
เว็บของคุณก็ไม่อาจถูกค้นหาเจอจาก Google ค่ะ นี่คือเหตุผลที่หลายๆคนไม่ต้องการโดเมนเนมที่โดนแบนแล้ว
วิธีการเช็คโดเมนเนมนั้น เป้นเรื่องที่ง่ายอต่ก็อาจไม่ชัวล์เสมอไป เพราะใช่ว่าจดไปแล้วจะไม่โดนแบนทีหลังนะคะ
เอาล่ะ พูดมาเยอะแล้ว เรามาดูวิธีตรวจสอบโดเมนนเมกันดีกว่า

เตรียมโดเมนเนมของคุณเอาไว้ จากนั้นเข้าไปที่เว็บไซต์ดังนี้

http://Seomastering.com
http://Iwebtool.com
http://Isbanned.com
http://OnlineAlley.com
http://BannedCheck.com
http://SelfSeo.com

เว็บไหนก็ได้ค่ะ หรือจะเข้าทุกเว็บเลยก็ได้ นำชื่อโดเมนของเราไปตรวจสอบได้ที่เว็บเหล่านี้ได้เลย

ตัวอย่างโดเมนที่ไม่โดนแบน แม้ว่าวิธีการเช็คนี้จะไม่สามารถเช็คได้ละเอียด ถูกต้อง 100%
แต่ก็สามารถตรวจสอบได้ในระดับนึงนะคะ ลองเอาไปเช็คโดเมนก่อนจดได้


ที่มาบทความ blog555.net

หน้า: 1 ... 4 5 [6] 7