*หัดอ่านบ้าง สมาชิกที่มาโปรโมทเว็บ หรือ บริการ กรุณาตั้งกระทู้ให้ถูกหมวดด้วย ไม่ต้องเนียน เว็บบอร์ดมีคนดูแล ห้าม เว็บการพนัน ลบอย่างเดียว



แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Topics - CoolhostPlus

หน้า: 1 2 [3] 4 5 ... 7
31
วิธีป้องกันตัวเองจากมัลแวร์เรียกค่าไถ่ WannaCry



ขณะนี้มัลแวร์เรียกค่าไถ่ WannaCry / WannaCrypt กำลังระบาดหนักทั่วโลก มีคอมพิวเตอร์โดนโจมตีไปแล้วกว่า 200,000 เครื่องใน 99 ประเทศภายในเวลาเพียง 2 วันเท่านั้น
เรามีวิธีป้องกันตัวเองจากมัลแวร์ดังกล่าวอยู่ 2 อย่าง คือการอัพเดตวินโดวส์เพื่ออุดช่องโหว่ และอีกอย่างคือการปิดโปรโตคอล Server Message Block (SMB) ที่เป็นโปรโตคอลสำหรับการรับส่งไฟล์ระหว่างคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกัน

ปัจจุบันโปรโตคอล SMB มี 3 เวอร์ชันด้วยกัน คือ SMBv1, SMBv2 และ SMBv3 โดย SMBv1 เป็นรุ่นเก่ามาก ออกมาเกือบ 30 ปีแล้ว ซึ่ง WannaCry ก็ใช้ช่องโหว่ของ SMBv1 นี่แหละ เป็นช่องทางแพร่ตัวเองเข้าโจมตีคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในเครือข่าย โดยที่เครื่องเป้าหมายไม่ต้องคลิกเปิดไฟล์อะไรด้วยซ้ำ (เปิดคอมต่อเน็ตอยู่ดีๆ ก็ติดเลย) ดังนั้น SMBv1 จึงไม่เหมาะสมที่จะใช้งานในยุคนี้แล้ว และควรปิดทิ้งไปเสีย
เมื่อขึ้นชื่อว่าเป็นการรับส่งข้อมูลหากัน จึงต้องมีฝั่งนึงเป็น Server และอีกฝั่งเป็น Client โดยสำหรับผู้ใช้ทั่วไป จะถือว่าตัวเองเป็น Client ซึ่งการปิดแบบ Client ก็เพียงพอแล้วต่อการป้องกันตนเองไม่ให้รับมัลแวร์เข้ามา
การปิด SMBv1 ฝั่ง Client

โชคดีที่ขั้นตอนการปิด SMBv1 ใน Windows 8.1, Windows 10, Windows Server 2012 R2 และ Windows Server 2016 นั้นง่ายมาก ไม่ต้องมีความรู้ทางเทคนิคเลยก็ทำได้ ใช้เวลาไม่ถึง 5 นาทีก็เสร็จแล้ว ดังนี้

อ่านต่อวิธีป้องกันได้ที่ : https://www.blognone.com/node/92410


32
WordPress 4.7.3 is now available. This is a security release for all previous versions and we strongly encourage you to update your sites immediately.


WordPress versions 4.7.2 and earlier are affected by six security issues:





1.Cross-site scripting (XSS) via media file metadata.
2.Control characters can trick redirect URL validation.
3.Unintended files can be deleted by administrators using the plugin deletion functionality.
4.Cross-site scripting (XSS) via video URL in YouTube embeds.
5.Cross-site scripting (XSS) via taxonomy term names.
6.Cross-site request forgery (CSRF) in Press This leading to excessive use of server resources.

อ่าน : https://wordpress.org/news/2017/03/wordpress-4-7-3-security-and-maintenance-release/





33
รวม plugins ของสคริปต่าง ๆ / Redis Object Cache wordpress
« เมื่อ: มกราคม 27, 2017, 20:22:27 »
Redis Object Cache wordpress




https://th.wordpress.org/plugins/redis-cache/other_notes/


ยังไม่ได้ลองนะครับ ^^

34
สำหรับผู้ที่ใช้ WordPress คงจะเข้าใจดีว่าการส่ง E-mail ผ่าน  Wordpress นั้นจะใช้ฟังก์ชัน mail() ใน PHP เพื่อช่วยในการส่ง E-mail ออกไป ซึ่งพอ E-mail ส่งไปถึงปลายทาง ก็จะไปเข้าที่ Junk บ้าง Spam บ้าง หรือถ้าปลายทางมีระบบรักษาความปลอดภัยดีๆ ก็อาจจะไปไม่ถึงเลยด้วยซ้ำ

เนื่องจาก การส่ง E-mail ด้วยฟังก์ชัน mail() ใน PHP นั้นจะใช้ความสามารถของ Hosting โดยต้นทางจะไม่มีบัญชีของผู้ส่งจริงๆ จึงทำให้ระบบปลาย จับได้ว่า E-mail นี้ไม่น่าเชื่อถือ จึงวางให้เป็น Junk

ซึ่ง WordPress ก็มี Plugin สำหรับตั้งค่าการส่ง E-mail ผ่าน SMTP (หาอ่านเอาเองนะครับ SMTP คือ) โดยที่จะแนะนำคือ WP Mail SMTP
Plugin https://wordpress.org/plugins/wp-mail-smtp/


มาดูวิธีตั้งค่ากันเลย







เห็นรูปแล้ว งง ค่าต่าง ๆ ก็ประมาณนี้นะครับ

From Email :  ชื่อ E-mail ของเรา แล้วแต่จะตั้ง

From Name : ชื่อที่แสดงเวลาถึงปลายทาง

Mailer : ให้เลือกที่ Send all WordPress emails via SMTP.

SMTP Host : mail server ของเรา   เช่น smtp.gmail.com หรือ เมล์ที่เราใช้บริการอยู่

SMTP Port : ใส่ 465/587

Authentication : ให้เลือกที่ Yes: Use SMTP authentication.

Username : ป้อน login ที่ใช้เข้า E-mail

Password :ป้อนรหัสผ่าน ที่ใช้เข้า E-mail

คุณสามารถทดสอบได้โดย Send a Test Email ในช่อง to ใส่ E-mail ปลายทางลงไป คลิกปุ่ม Send Test แล้วก็เข้าไปเช็คที่ E-mail ปลายทางดูเลยครับ ถ้าเมล์ส่งออกไม่ได้ ให้ดูวิธีแก้ตามลิ้งนี้ครับ  http://www.forum.coolhostplus.net/index.php/topic,1213.0.html


หากใครคั้้งค่าไม่เป็น ติดต่อเราได้ ยินดีช่วยทำให้ฟรี



เรียบเรียงบทความโดย http://www.coolhostplus.net

35
วิธีแก้ปัญาหาเชื่อมต่อ การส่งเมล์ แบบ SMTP ของ gmail








การส่งเมล์ แบบ SMTP ของ gmail บางที่ บางสคริปอาจจะมีปัญหา หรือ บัญชี gmail อาจจะมีปัญหา
ผมหาวิธีแก้ไขอยู่นาน เลยมาเจอ วิธีนี้เลยเอามาแชร์ และ เก็บไว้เป็นความรู้

วิธีก็ไม่ยากเลยครับ

เข้าตามลิ้งได้เลย  https://support.google.com/mail/answer/7126229?visit_id=1-636181630628441689-3091757455&rd=2#cantsignin

หากคนที่ใช้การเชื่อมต่อแบบ smtp.gmail.com
โปรดไปที่ https://www.google.com/accounts/DisplayUnlockCaptcha
ละทำตามขั้นตอนในหน้านั้น

เมื่อกดลิ้งข้างบนแล้ว ทำตามขั้นตอนจนเสร็จ มาต่อที่การตั่งค่า การลงชื่อเข้าใช้และการรักษาความปลอดภัย
ตามลิ้งนี้  https://support.google.com/accounts/answer/6010255

หรือ ไปที่ลิ้งนี้ http://www.google.com/settings/security/lesssecureapps
อนุญาตแอปที่มีความปลอดภัยน้อย ให้เลือกเป็น เปิด

แค่นั้น ก็โอเค แล้วครับ ต่อไปเราก็ไปตั้งค่าที่ สคริป ที่ลองรับเมล์แบบ SMTP ตามปกติ ครับ

Mail Type  SMTP แต่ละสคริปอาจจะไม่เหมือนกัน

SMTP Port: 587 หรือ 465
SMTP Host: smtp.gmail.com
SMTP Username: gmail ที่ใช้อยู่
SMTP Password:  password ที่ใช้ล็อกอิน gmail
SMTP  SSL/TLS  บางสคริปอาจจะมีให้เลือก

วิธีตั้งค่าต่าง ๆ ได้ที่นี้เลย
https://support.google.com/a/answer/176600?hl=th




เรียบเรียงบทความโดย http://www.coolhostplus.net





36
วิธีจดโดเมนเป็นภาษาไทย เปลี่ยน url ให้เป็นภาษาไทย



วิธีจดโดเมนเป็นภาษาไทย
ผมใช้วิธีเปลี่ยนใน google  แปลภาษา  อังกฤษ - ไทย  พิมชื่อโดเมน เป็นภาษาไทยลงไป 

เช่น ไทยเสียว.com  แล้วกดแปล ครับ จะได้ภาษาแปล มา  xn--o3cwaun0evd3a.com แล้วนำไปจดได้เลย ลองดูครับ

ทดสอบ : https://translate.google.co.th/translate?hl=th&sl=en&tl=th&u=%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7.com



37
เว็บโฮสติ้งคืออะไร ? หลายคนอาจจะงง หรือ เรียกง่าย ๆ คือ พื้นที่ฝากไฟล์เว็บออนไลน์



หลายคนอาจเคยได้ยินหลายคนเคยได้ยินเขาพูดถึงกันว่าเว็บโฮสติ้งที่ไหนดีเว็บโฮสติ้งนี้ไม่ดีล่มบ่อย แต่ก็มีหลายคนที่ไม่รู้ว่าความหมายจริงๆคืออะไรและมีกี่ชนิดแล้ว เราควรเลือกแบบไหนให้เหมาะสมกับเราและเว็บไซต์ของเรา

ให้แปลแบบตรงๆ บริการเว็บโฮสติ้งก็คือบริการพื้นที่สำหรับฝากเว็บไซต์แต่ถ้าให้อธิบายละเอียดขึ้นไปอีก บริการเว็บโฮสติ้งเป็นบริการให้เช่าพื้นที่บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ออนไลน์บนระบบอินเตอร์เน็ตสำหรับเก็บไฟล์เว็บไซต์ฐานข้อมูลและอีเมลล์เพื่อให้เว็บไซต์ออนไลน์บนอินเตอร์เน็ตและสามารถใช้งานรับส่งอีเมลล์ได้

ส่วนใครที่ยังไม่เข้าใจขออธิบายง่ายๆให้คิดว่าบริการเว็บโฮสติ้งเหมือนกับที่ดินส่วนเว็บไซต์ก็เหมือนกับตัวบ้านหรือร้านค้าของเราและอีเมลล์ของเราเปรียบได้กับกล่องรับจดหมาย ดังนั้นก่อนที่เราจะสร้างบ้านเราหรือร้านค้าก็ต้องมีที่ดินซึ่งถ้าเราเลือกที่ดินดีๆบ้านเราก็ไม่พังลงมาสามารถรับส่งจดหมายได้สะดวกโดยที่ดินที่ดีก็ต้องอยู่ติดถนนใหญ่เช่นเดียวกับเว็บโฮสติ้งที่ดีก็ควรอยู่บนระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อที่จะให้คนที่จะมาบ้านเรามาได้สะดวกรวดเร็วไม่ติดขัดหากเปรียบเทียบแบบนี้จะทำให้เข้าใจบริการเว็บโฮสติ้งง่ายขึ้นและอธิบายกับคนที่ยังไม่เข้าใจหรือไม่รู้จักได้ง่ายขึ้นเยอะ

โดยบริการเว็บโฮสติ้งก็ยังแบ่งได้อีกหลายแบบหลายชนิดขอแนะนำแต่ละชนิดแบบง่ายๆดังนี้

1. Shared Hosting เป็นบริการเว็บโฮสติ้งที่เหมาะสำหรับเว็บไซต์ธรรมดาทั่วไปเว็บเดียวเช่นเว็บส่วนตัวบริษัทองค์กรฯลฯ ตามที่ชื่อบอก shared hosting ก็คือการซอยพื้นที่ในเครื่องเซิฟเวอร์มาให้เช่า ดังนั้น ทรัพยากรของเครื่องจะถูกแชร์กันหลายผู้ใช้งาน shared hosting เป็นบริการที่นิยมกันทัวไปเพราะราคาไม่สูง

2. VPS Hosting บริการเซิร์ฟเวอร์เสมือนบริการที่เหมือนกับมีเซิร์ฟเวอร์ของตัวเองVPS ย่อมาจาก Virtual Private Server โดยสามารถจัดการได้ผ่าน Remote desktop connection เหมาะสำหรับเว็บไซต์ที่มีความต้องการที่จะใช้งานโปรแกรมหรือ Application เสริมเฉพาะที่บริการ Shared Hosting ไม่มีหรือไม่อนุญาตให้ติดตั้งเพื่อใช้งานเนื่องจากบริการนี้สามารถติดตั้งโปรแกรมหรือ Application ได้ตามใจชอบและยังเหมาะสำหรับเว็บไซต์ที่มีการเข้าชมสูงเนื่องจากการใช้งานของ Data Transfer รวมทั้ง Bandwidth จะถูกแบ่งการใช้งานชัดเจนไม่แชร์ร่วมกับเว็บไซต์อื่นเหมือน Shared Hosting

3.Dedicated server บริการเครื่องเซิร์ฟเวอร์สำหรับเว็บไซต์ของคุณใช้งานแต่เพียงผู้เดียวทั้งนี้อาจจะใช้งานหลายเว็บไซต์ (ที่เราดูแล) ก็ได้หรือจัดสรรแบ่งพื้นที่เพื่อขายเป็นบริการ Shared Hosting ก็ได้แต่โดยส่วนมากการใช้งานจะเหมาะสำหรับบริษัทองค์กรขนาดกลางถึงใหญ่หรือเว็บไซต์ขนาดใหญ่ที่ต้องการความเสถียรปลอดภัยและความรวดเร็วในการเข้าถึงเว็บไซต์เนื่องจากเครื่องเซิร์ฟเวอร์ทั้งเครื่องจะมีเพียงเว็บไซต์ของเราเท่านั้น

4.Reseller Hosting เป็นบริการสำหรับผู้ให้บริการจัดทำเว็บไซต์ผู้พัฒนาเว็บไซต์เพื่อนำไปจัดสรรแบ่งพื้นที่ให้กับลูกค้าที่มาจ้างทำเว็บไซต์หรือขายต่อในนามของตัวเองและยังเหมาะสำหรับคนที่มีหลายเว็บไซต์ที่ต้องดูแลเนื่องจากสามารถบริหารจัดการได้ผ่านระบบควบคุมเดียวควบคุมได้ทุกเว็บ

ทั้งหมดนี้เป็นเพียงบริการหลักๆของเว็บโฮสติ้งเท่านั้น เนื่องจากบริการอาจถูกปรับเปลี่ยนและเรียกกันในชื่อบริการใหม่เพื่อให้ตรงกับความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายของผู้ให้บริการเว็บโฮสติ้งแต่ละราย

ส่วนการเลือกบริการเว็บโฮสติ้งที่เหมาะสมนั้น ควรคำนึงถึงเว็บไซต์ของเราและการใช้งานที่เกิดขึ้นจริงโดยไม่จำเป็นต้องซื้อบริการที่เกินความจำเป็นเพราะเว็บไซต์สามารถย้ายจากบริการเว็บโฮสติ้งที่เล็กกว่าไปใช้บริการเว็บโฮสติ้งที่ใหญ่ขึ้นได้ตลอดเวลาดังนั้นหากเราเพิ่งเริ่มทำเว็บไซต์หรือเว็บไซต์ของเรายังไม่โตหรือขยายมากก็อาจจะเริ่มจากบริการขนาดเล็กก่อนเมื่อเว็บไซต์ของเรามีขนาดใหญ่ขึ้นผู้เข้าชมมากขึ้นเราก็สามารถเปลี่ยนแปลงบริการได้ด้วยวิธีนี้จะทำให้เราไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเกินความจำเป็นอีกด้วย

รายละเอียดคลิก >>> http://goo.gl/aW5Reh
แฟนเพจ : https://goo.gl/H5jKnH





38
วิธีเปิดใช้ SSL ฟรี ของ cloudflare ( ผมเขียนบนความไม่เก่งหากดู งง ถามได้ )

ถ้าเป็นพวกสคริป wp หรือ smf จะต้องมีตัวเสริม ที่สคริปด้วย หรือ อาจจะเปลี่ยนแค่ลิ้ง url ก็น่าจะพอ
สคริปอื่น ๆ อาจจะต้องเขียนโค้ดใส่ .htaccess เพื่อให้รีเฟชไปที่ https:// ด้วย

สำหรับคนที่ใช้ WordPress ลงปลั๊กอินตัวนี้ไปด้วย cloudflare-flexible-ssl
สำหรับสคริปเว็บอื่น ๆ ลองเปลี่ยนแค่ url ใน ตั้งค่าของเว็บให้เป็น https:// ดูนะครับ
และ ทุกอย่างในเว็บจะต้องเป็น https:// ไม่งั้นจะไม่ขึ้นรูปกุญแจ




มาดูวิธีทำกันเลย ตามรูป นะครับง่าย ๆ ไม่ยาก ก่อนอื่นต้องไปกดเปิด DNS








คำสั่งที่ต้องดูให้ดี  ON เปิด OFF ปิด นะครับ









ไปที่หน้า page rules แล้วจัดการใส่โดเมนลงไปแบบตัวย่าง



หลังจากทำเสร็จแล้ว รอมันอัพเดทก่อนนะครับ
( หากใครสงสัย หรือ ทำไม่ได้จริง ๆ ติดต่อมาครับ เดี๋ยวจัดให้  แนะนำให้สมัคร cloudflare ไว้ด้วย  )


https://www.cloudflare.com


อ้างถึง
Cr : www.svmusichost.net & coolhostplus.net



เพิ่มเติมวิธี https://support.cloudflare.com/hc/en-us/articles/205893698-Configure-CloudFlare-and-Heroku-over-HTTPS

39
User Agent Blocks (Mainly for bots) .htaccess File code into your .htaccess file located in your public_html

โค๊ด: [Select]
##Start Coding.

#Block potentially unwanted bots
#This blocks requests to apache via their User Agent.
SetEnvIfNoCase user-Agent ^FrontPage [NC,OR]
SetEnvIfNoCase user-Agent ^Java.* [NC,OR]
SetEnvIfNoCase user-Agent ^Microsoft.URL [NC,OR]
SetEnvIfNoCase user-Agent ^MSFrontPage [NC,OR]
SetEnvIfNoCase user-Agent ^Offline.Explorer [NC,OR]
SetEnvIfNoCase user-Agent ^[Ww]eb[Bb]andit [NC,OR]
SetEnvIfNoCase user-Agent ^Zeus [NC]

<limit GET POST>

#DENYING YOUR CONNECTIONS THNX.
Order Allow,Deny
Allow from all
Deny from env=bad_bot

</limit>

##end code

อ้างถึง
##begin code
##start blocking potentially unwanted bots.
RewriteEngine On
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^BlackWidow [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Bot\ mailto:craftbot@yahoo.com [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^ChinaClaw [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Custo [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^DISCo [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Download\ Demon [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^eCatch [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^EirGrabber [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^EmailSiphon [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^EmailWolf [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Express\ WebPictures [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^ExtractorPro [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^EyeNetIE [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^FlashGet [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^GetRight [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^GetWeb! [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Go!Zilla [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Go-Ahead-Got-It [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^GrabNet [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Grafula [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^HMView [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} HTTrack [NC,OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Image\ Stripper [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Image\ Sucker [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} Indy\ Library [NC,OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^InterGET [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Internet\ Ninja [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^JetCar [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^JOC\ Web\ Spider [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^larbin [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^LeechFTP [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Mass\ Downloader [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^MIDown\ tool [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Mister\ PiX [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Navroad [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^NearSite [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^NetAnts [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^NetSpider [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Net\ Vampire [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^NetZIP [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Octopus [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Offline\ Explorer [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Offline\ Navigator [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^PageGrabber [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Papa\ Foto [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^pavuk [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^pcBrowser [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^RealDownload [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^ReGet [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^SiteSnagger [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^SmartDownload [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^SuperBot [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^SuperHTTP [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Surfbot [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^tAkeOut [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Teleport\ Pro [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^VoidEYE [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Web\ Image\ Collector [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Web\ Sucker [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^WebAuto [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^WebCopier [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^WebFetch [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^WebGo\ IS [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^WebLeacher [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^WebReaper [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^WebSauger [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Website\ eXtractor [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Website\ Quester [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^WebStripper [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^WebWhacker [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^WebZIP [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Wget [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Widow [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^WWWOFFLE [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Xaldon\ WebSpider [OR]
RewriteCond %{HTTP_USER_AGENT} ^Zeus
RewriteRule ^.* - [F,L]
##end code. bai bots.

40
[แจกฟรี] หน้า intro page ในหลวง





intro page เอาไปใช้ได้ฟรีเลย

ตัวอย่าง : http://www.kotchasan.com/
โค้ด : https://github.com/goragod/intro

โหลดไม่ได้แจ้งมานะครับ เดี๋ยวอัพไฟล์ให้โฆลดอีกแบบ




อ้างถึง
ที่มา http://www.thaiseoboard.com/index.php/topic,384272.0.html




41
ไว้อาลัย โดยการทำให้เว็บเป็นขาวดำทั้งเว็บ กันครับ

โค้ดสำหรับใส่ใน CSS วางไว้บนสุดของโค้ด

โค๊ด: [Select]
img {
-webkit-filter: grayscale(100%);
filter: grayscale(100%);
}
html {
-webkit-filter: grayscale(100%);
}




สำหรับ wp ไปแก้ตามนี้
/public_html/wp-content/themes/ชื่อธีมของคุณ

แก้ไขไฟล์ style.css  วางไว้ล่างสุดของโค้ด



42
การตั้งค่าระบบ WP Super Cache ของ Wordpress



บทความนี้จะมาบอกว่าทำไมในการทำเวปไซต์ด้วย Wordpress จำเป็นต้องทำ Caching ทำแล้วช่วยอะไรได้

Wordpress เป็น CMS ที่ค่อนข้างใหญ่และมีโครงสร้างซับซ้อน ในการ query หรือค้นหาข้อมูลมาแสดงหน้าเวปแต่ละครั้งจะผ่าน function ต่างๆเยอะแยะมากมาย หากคนเข้าเวปน้อยๆก็จะยังไม่เห็นปัญหาแต่ถ้ามีการใช้งาน (realtime) หลักพันหรือหลักหมื่น หากไม่มีระบบ Cache เข้ามาช่วย เซิฟเวอร์แรงแค่ไหนก็เอาไม่อยู่ครับ

Plugin ที่บริหารจัดการ Caching ของ Wordpress มีมากมายในท้องตลาด แต่เราได้ทดสอบเป็นอย่างดีแล้วว่าถ้าเราตั้งค่าอย่างถูกต้องก็จะสามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพของเซิฟเวอร์ นั่นคือ WP Super Cache ด้วยการตั้งค่าที่ง่ายและ Plugin ไม่มีความซับซ้อนมาก





ขั้นตอนการตั้งค่า WP Super Cache




ปรับแต่ง permalink เพื่อให้รองรับกับการ cache ด้วย mod_rewrite

เพื่อให้การตั้งค่าได้ถูกต้องแนะนำให้เลือก Plan แล้วกด Save หลังจากนั้นลบไฟล์ .htaccess ทิ้ง แล้วค่อยเลือก Custom Structure (ตามภาพด้านบน) ในที่นี้ผมอยากให้ URI ของเวปไซต์สั้นๆ เลยตั้งค่าแค่ /%post_id%  หรือใครชอบให้มีหัวข้อของเนื้อหาอยู่ในบทความก็อาจจะตั้งเป็น /%postname% ก็แล้วแต่ความชอบและความเชื่อหรือเทคนิคเกี่ยวกับ SEO ครับ ^ ^

ต่อไปติดตั้ง Plugin WP Super Cache


โดยทำการตั้งค่าดังนี้


แนะนำให้เลือกเป็น mod_rewrite เพราะเป็น mode ที่ทำงานได้เร็วที่สุด




หลักๆให้เลือกที่ทาง Plugin Recommended มาครับและเพิ่มในส่วนของการให้ Clear Cache เมื่ออัพเดทบทความใหม่ ส่วนค่าที่เหลือสามารถใช้งาน Default ได้เลยครับ เสร้จแล้วกด update mod_rewrite rule ตามภาพด้านล่าง




หลังจากติดตั้ง Plugin เสร็จแล้วแนะนำเพิ่มเติมคือให้ทำการตั้งค่าไม่ให้ Wordpress เรียก 404.php ของ Themes เพราะในส่วนนี้จะไม่ cache และส่วนใหญ่โดย default ของ Themes จะมีการ query ทั้ง header, menu , widget  เป็นจำนวนมาก ลองเข้าไปดู 404.php ของ Themes ที่ใช้ได้ที่

Appearance -> Editor -> 404.php ปกติผมจะทำการลบ Code ในนี้ด้วยและใส่เพียงแค่

<?="404 not found"; ?>


และแก้ไข .htaccess ไม่ให้มีการ execute ไฟล์ใน wp-content โดยเพิ่มบรรทัดสีแดงเข้าไปดังนี้




ในส่วนของการติดตั้ง Cache ก็เรียบร้อยแล้วครับ


เพิ่มเติมให้อีกนิดครับในบาง Themes จะมีการส่งค่า POST ไปที่ admin-ajax.php ตลอดเวลาเท่ากับว่าทุกๆ 1 request จะมีการส่งค่าเข้าไปให้ Web Server ประมวลผลเป็นจำนวนมากทำให้กินทรัพยากรเซิฟเวอร์ เราแก้ไขได้ด้วยการติดตั้ง Plugin Heartbleed Control  และตั้งค่าตามนี้ได้เลยครับ






ภาพตัวอย่างการส่ง POST request จำนวนมาก หาก Themes หรือ Plugin บางตัวมีการเรียก heartbeat API




บนความจาก https://hosti...ruk-com..nowled...Com-Cach..ss.html

เพิ่มเติม
http://www.icez.net/blog/135125/wordpress-superior-and-suck
http://www.inmotionhosting.com/support/website/wordpress/heartbeat-ajax-php-usage

43
รวมเว็บประกาศฟรี ลงประกาศฟรีมากถึง 100 เว็บ




รวมเว็บประกาศฟรี

http://www.yindeemarket.com 
http://www.taladkonthai.com
http://www.taladsinka.com
http://www.tradesitenews.com
http://www.marketza.info
http://www.sansbuy.com
http://www.sopostza.com
http://www.plazanana.com
http://www.postdee.com
http://www.taladza.com
http://www.iseeplaza.com
http://www.icansale.com
http://www.kodsanazone.com
http://www.prakardzone.com
http://www.prakarddee.com
http://www.konthaimarket.com
http://www.postfreezone.com
http://www.kodsanafree.com
http://www.prakardhunsa.com
http://www.prakarddeal.com
http://www.sinkamall.com
http://www.trademun.com
http://www.zopostza.com
http://www.taladhiso.com
http://www.marketdd.info
http://www.postdaily.info
http://www.taladthai.info
http://www.dealmarket.info
http://www.kodsanathai.info
http://www.postsanook.info
http://www.malldee.info
http://www.martdeal.info
http://www.plazadeal.info
http://www.promotego.info
http://www.taladfree.com
http://www.adsshared.com
http://www.4-fit.com
http://www.postza.in.th
http://www.iget.in.th
http://www.bestpostfree.com
http://www.wetradeshop.com
http://www.wemall.info
http://www.showprakard.com
http://www.tradesinka.com
http://www.bestmart.info
http://www.exclassified.com
http://www.classifiedsiam.com
http://www.wellmarket.info
http://www.dailythaishop.com
http://www.thaihotMart.com
http://www.nicemall.info
http://www.thaifreemart.info
http://www.siammart.info
http://www.sinkhathai.info
http://www.hotmarket.info
http://www.greenpost.info
http://www.classifieddaily.info
http://www.classifiedpost.info
http://www.saledd.info
http://www.bizmarket.info
http://www.taladsale.com
http://www.adsshop.info
http://www.ohmart.info
http://www.postfreezon.com
http://www.thaisale.info
http://www.dodeal.info
http://www.zonepost.info
http://www.postza.info
http://www.betterpost.info
http://www.dealgood.info
http://www.wemart.in.th
http://www.taladdeal.com
http://www.taladclick.com
http://www.tamlayshop.com
http://www.forsaledd.com
http://www.onshop.info
http://www.dealdd.info
http://www.postbiz.info
http://www.doodeepost.com
http://www.goplusshop.com
http://www.getmart.info
http://www.mydealfree.com
http://www.postzone.info
http://www.buysalemarket.com
http://www.postsure.info
http://www.thaionpost.com
http://www.buysaledaily.com
http://www.jairakdesign.com
http://www.timetopost.com
http://www.mybazaar.info
http://www.thaiondeal.com
http://www.classifiedwell.com
http://www.saledirect.info
http://www.buydealfree.com
http://www.buymymart.com
http://www.postoffer.info
http://www.salemart.info
http://www.marketfree.info
http://www.bizdeal.info
http://www.postwell.info

เว็บอสังหาริมทรัพย์ 
http://www.buysalehome.com
http://www.teedin76.com
http://www.pjland.com
http://www.teedindeal.com
http://www.teedinonsale.com

44
วิธีชำระเงินแบบโอน PayPal to PayPal แบบไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม ( แต่ต้องทำให้ถูกวิธี ด้วยนะ )




1.ไปหาเมนู ชำระเงินและเรียกเก็บเงิน หรือ ชำระเงิน



2.จะมาเจอหน้านี้ ให้ใส่อีเมล PayPal ของคนที่เราจะโอนเงินไปให้



3.จะมาเจอหน้านี้ ให้เรากรอกจำนวนเงินที่จะโอน ปกติจะเป็นเลข 0.00 ตัวอย่างคือยอด 500 บาท
และ ช่องข้อความถ้าเป็นคนอื่นอาจจะไม่ต้องใส่ก็ได้ แต่ถ้าเป็นลูกค้าของทางเว็บแนะนำให้ใส่ Invoice# หรือ รายละเอียดที่เราสามารถเช็คได้




4.จะมาเจอหน้านี้ เป็นหน้าให้เลือก สกุลเงิน ในที่นี้ ผมได้ตั้งสกุลเงินไว้ 2 แบบ ของท่านอื่นอาจจะไม่ขึ้นแบบนี้ให้ผ่านไปได้เลย
แต่ถ้าเลือกโอน โดยเลือก Mastercard เราจะเสียค่าโอนนะครับ




2.หน้าสุดท้ายคือ สรุปรายการโอน ให้สักเกตุดีๆ ก่อนว่าอยู่ในโมท ชำระเงินให้เพื่อน ถ้าเป็นอันอื่นให้กดเปลี่ยนก่อน แล้วเลืกไปที่ ชำระเงินให้เพื่อน




เป็นอันเสร็จ ง่ายๆ ทำให้ดู ดูให้ดี ตกหล่น โอนเพิ่ม นะครับ




45
ข้อความผิดพลาด Error PhpMyAdmin



วิธีแก้ สำหรับผู้ใช้งาน vps มีสิทธิ์เข้า root ได้เท่านั้น

เปิดแฟ้ม

โค๊ด: [Select]
/etc/apache2/conf-available/phpmyadmin.conf
$nano /etc/apache2/conf-available/phpmyadmin.conf


โค๊ด: [Select]
# phpMyAdmin default Apache configuration
 
Alias /phpmyadmin /usr/share/phpmyadmin
 
<Directory /usr/share/phpmyadmin>
    Options FollowSymLinks
    DirectoryIndex index.php
 
    <IfModule mod_php5.c>
        <IfModule mod_mime.c>
            AddType application/x-httpd-php .php
        </IfModule>
        <FilesMatch ".+\.php$">
            SetHandler application/x-httpd-php
        </FilesMatch>
 
        php_flag magic_quotes_gpc Off
        php_flag track_vars On
        php_flag register_globals Off
        php_admin_flag allow_url_fopen Off
        php_value include_path .
        php_admin_value upload_tmp_dir /var/lib/phpmyadmin/tmp
        php_admin_value open_basedir /usr/share/phpmyadmin/:/etc/phpmyadmin/:/var/lib/phpmyadmin/:/usr/share/php/php-gettext/:/usr/share/javascript/:/usr/share/php/tcpdf/
    </IfModule>
 
</Directory>
 
# Authorize for setup
<Directory /usr/share/phpmyadmin/setup>
    <IfModule mod_authz_core.c>
        <IfModule mod_authn_file.c>
            AuthType Basic
            AuthName "phpMyAdmin Setup"
            AuthUserFile /etc/phpmyadmin/htpasswd.setup
        </IfModule>
        Require valid-user
    </IfModule>
</Directory>
 
# Disallow web access to directories that don't need it
<Directory /usr/share/phpmyadmin/libraries>
    Require all denied
</Directory>
<Directory /usr/share/phpmyadmin/setup/lib>
    Require all denied
</Directory>

$service apache restart


อ้างถึง
อ่านบทความทั้งหมด https://syaimif.wordp.....pmyadmin-sete....de/


หน้า: 1 2 [3] 4 5 ... 7